แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พต21001 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน  เรื่อง การพูดแสดงความคิดรูปแบบต่างๆ (Expression of opinion, ideas/wishes/offering helps, etc.) 
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การพูดแสดงความคิดรูปแบบต่างๆ (Expression of opinion, ideas/wishes/offering helps, etc.) 
พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการในสถานการณ์ต่าง ๆ









ภาษาเพื่อแสดงความคิดเห็นความต้องการ
ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
  ครูทักทายผู้เรียน พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันนี้ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญของการดำเนินชีวิตประจำวันจะต้องอาศัยหลักปัจจัยพื้นฐาน   ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างเกี่ยวกับการพูดแสดงความคิดเห็นและความต้องการในสถานการณ์ต่างๆ มีความสำคัญสำหรับบุคคลแต่ละบุคคล       เป็นอย่างมากจะต้องมีการพูดแสดงความคิดเห็นและความต้องการเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนั้น ถ้าหากท่านได้รับมอบหมายให้พูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการ กับบุคคลต่างชาติในสถานการณ์ต่างๆ  ท่านคิดว่าจะต้องใช้ภาษาในการพูดแสดงความคิดเห็น  เห็นด้วย /ไม่เห็นด้วย /ยอมรับ/ และการแสดงความต้องการ และตอบรับอย่างไรบ้าง โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้
1. การแสดงความคิดเห็น
1.1 เห็นด้วย  ท่านจะพูดอย่างไร
1.2 ไม่เห็นด้วย  ท่านจะพูดอย่างไร
2. การแสดงความต้องการ และตอบรับ  ท่านจะพูดแสดงความต้องการ และตอบรับอย่างไร
3. แสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น  รวมทั้งการตอบรับ ท่านจะพูดอย่างไร

1. หนังสือเรียน/สื่อสิ่งพิมพ์
2. อินเตอร์เน็ต
3. ใบความรู้ เรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการในสถานการณ์ต่างๆ

1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
 1.  ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้ และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต / แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็น ความต้องการและตอบรับ ดังนี้
      1.1  การแสดงความเห็นด้วย/การแสดงความไม่เห็นด้วย   
      1.2  การแสดงความต้องการ และตอบรับ  
      1.3  การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น  รวมทั้งการตอบรับ
  2. ผู้เรียนค้นคว้าตัวอย่างการพูดสนทนาเกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็น ความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
1. ผู้เรียนอ่านการพูดสนทนาเกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็น ความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ
2. ผู้เรียนและครูร่วมกันพูดสนทนาโต้ตอบ การแสดงความคิดเห็น ความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ
3. ผู้เรียนจับคู่แสดงบทบาทสมมติในการพูดแสดงความคิดเห็น  ความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ



รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



4. ผู้เรียนทำใบงานเรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ
5. ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่องการพูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการและตอบรับ  การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น  รวมทั้งการตอบรับ
6. ครูเฉลยใบงานการพูดแสดงความคิดเห็นและแสดงความต้องการและตอบรับ การแสดงความช่วยเหลือและบริการผู้อื่น รวมทั้งการตอบรับ

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
    1. แบบสังเกตพฤติกรรม
     2. ใบงาน











แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 4-6 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พต21001 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน  เรื่อง ประโยคต่างๆ  ในภาษาอังกฤษ ( Different Types of English Sentences)
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
ประโยคต่างๆ  ในภาษาอังกฤษ ( Different Types of English Sentences)
รู้จักลักษณะของประโยคในภาษาอังกฤษ (ประโยคบอกเล่า/ประโยคคำถาม/ประโยคปฏิเสธ/ ประโยคคำสั่ง/ ประโยคอุทาน) และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom,  How  
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
          ครูทักทายผู้เรียน พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการสอบถามข้อมูลส่วนตัวของผู้เรียน ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง เกี่ยวกับประโยคคำถามในสถานการณ์ต่างๆ มีความสำคัญสำหรับบุคคลแต่ละบุคคลเป็นอย่างมาก เพื่อเป็นสร้างความรู้จักกับเพื่อนชาวต่างชาติ ดังนั้น ถ้าหากท่านได้รับมอบหมายให้พูดสนทนา กับบุคคลต่างชาติ ท่านคิดว่าจะต้องใช้ประโยคคำถาม การพูดสนทนาโต้ตอบอย่างไรบ้าง โดยใช้ประโยคคำถามดังต่อไปนี้
ประโยคการใช้   Who    ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร
ประโยคการใช้   When  ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร
ประโยคการใช้   Where ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร
ประโยคการใช้   Why    ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร

1. หนังสือเรียน/สื่อสิ่งพิมพ์
2. อินเตอร์เน็ต
3. ใบความรู้ เรื่องประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom, How  


รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



ประโยคการใช้   What  ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร
ประโยคการใช้   Whom  ท่านจะใช้ประโยคในการตั้งคำถามอย่างไร
ประโยคการใช้   How    ท่านจะใช้ประโยคในการ
ตั้งคำถามอย่างไร
ขั้นที่ 2  การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้
1.  ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้ และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต / แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประโยคคำถาม คำที่ใช้ในการตั้งคำถาม ได้แก่ Who, When, Where, Why, What, Whom, How  
2. ผู้เรียนค้นคว้าตัวอย่างประโยคคำถามการใช้  Who, When, Where, Why, What, Whom,  How
  
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
1. ผู้เรียนอ่านประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom,  How  
2. ผู้เรียนและครูร่วมกันพูดสนทนาโต้ตอบประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom,  How  
3. ผู้เรียนจับคู่แสดงบทบาทสมมติในการพูดสนทนาประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom, How  



รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



4. ผู้เรียนทำใบงานเรื่องการพูดสนทนาประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom,  How  
5. ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่อง การพูดสนทนาประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom, How  
6. ครูเฉลยใบงานการพูดสนทนาประโยคคำถามการใช้ Who, When, Where, Why, What, Whom, How
  
ขั้นที่ 4 การประเมินผล
            1. แบบสังเกตพฤติกรรม
            2. ใบงาน









แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 7-9 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พต21001 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน  เรื่อง ประโยคต่างๆ  ในภาษาอังกฤษ ( Different Types of English Sentences)   
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
ประโยคต่างๆ  ในภาษาอังกฤษ
( Different Types of English Sentences)   
รู้จักลักษณะของประโยคในภาษาอังกฤษ (ประโยคบอกเล่า/ประโยคคำถาม/ประโยคปฏิเสธ/ ประโยคคำสั่ง/ ประโยคอุทาน) และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ประโยคปฏิเสธและคำกริยา  ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
          ครูทักทายผู้เรียน  พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการโต้ตอบและการปฏิเสธ คำสั่ง และคำอุทาน ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง เกี่ยวกับประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน ที่ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ มีความสำคัญสำหรับบุคคลแต่ละบุคคลเป็นอย่างมาก เพื่อเป็นสร้างความรู้จักกับเพื่อนชาวต่างชาติ ดังนั้น ถ้าหากท่านได้รับมอบหมายให้พูดสนทนา กับบุคคลต่างชาติ  ท่านคิดว่าจะต้องใช้ประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทานอย่างไรบ้าง โดยใช้ประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทานดังต่อไปนี้
ประโยคปฏิเสธและคำกริยา ท่านจะใช้ประโยคในการปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน อย่างไร

ขั้นที่ 2  การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้
1.  ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้ และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต / แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน


รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



2. ผู้เรียนค้นคว้าตัวอย่างประโยคปฏิเสธและคำกริยา  ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน

ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
1. ผู้เรียนอ่านประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน
2. ผู้เรียนและครูร่วมกันพูดสนทนาโต้ตอบประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน
3. ผู้เรียนจับคู่แสดงบทบาทสมมติในการพูดสนทนาประโยคปฏิเสธและคำกริยา  ประโยคคำสั่งและประโยคอุทาน
4. ผู้เรียนทำใบงานเรื่องการพูดสนทนาประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยค   อุทาน
5. ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่อง การพูดสนทนาประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง  และประโยคอุทาน
6. ครูเฉลยใบงานการพูดสนทนาประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน
ขั้นที่ 4 การประเมินผล
          1. แบบสังเกตพฤติกรรม
            2. ใบงาน

1. หนังสือเรียน/สื่อสิ่งพิมพ์
2. อินเตอร์เน็ต
3. ใบความรู้ เรื่องประโยคปฏิเสธและคำกริยา ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน




แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 10-12 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พต21001 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน  เรื่อง ภาษาท่าทางในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน 
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
ภาษาท่าทางในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน 
เข้าใจและใช้ภาษาในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
ภาษาตามมารยาทสังคมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเกี่ยวกับ การทักทาย การกล่าวลา

ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
  ภาษาตามมารยาทสังคมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ  เกี่ยวกับการทักทาย และการกล่าวลา มีความสำคัญสำหรับบุคคลแต่ละบุคคลเป็นอย่างมากซึ่งจะต้องมีการพูดคุยสนทนาให้เกิดความเข้าใจอันจะเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ดังนั้นหากท่านได้รับมอบหมายให้ทักทายกับชาวต่างชาติเพื่อการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลทั้งในเรื่องการทักทาย และการกล่าวลา  ท่านคิดว่าจะต้องใช้ภาษาในการทักทาย และการกล่าวลา อย่างไรบ้าง โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้
    1. การทักทาย
       1.1 การทักทายแบบเป็นทางการ
            1.1.1 การทักทายช่วงเช้าท่านจะทักทายด้วยประโยคอะไร
            1.1.2 การทักทายช่วงบ่ายท่านจะทักทายด้วยประโยคอะไร
           1.1.3 การทักทายช่วงเย็น  ท่านจะทักทายด้วยประโยคอะไร
1. หนังสือเรียน/สื่อสิ่งพิมพ์
2. อินเตอร์เน็ต
3. ใบความรู้ เรื่องการทักทาย การกล่าวลา สำหรับครู


รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



        2.1 การทักทายแบบไม่เป็นทางการ    ท่านจะทักทายอย่างไร
     2. การกล่าวลา
การกล่าวลา ก่อนจะจบสิ้นการสนทนาตามมารยาทและธรรมเนียมปฏิบัติของคนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นประเทศใดก็ตามสิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ไม่สามารถละเลยได้ คือการกล่าวลา  ท่านจะใช้สำนวนในการกล่าวลาอย่างไร
ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้
1. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต / แหล่งเรียนรู้  เกี่ยวกับภาษาตามมารยาทสังคมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและภาษาท่าทางที่ใช้ในโอกาสต่างๆ  ดังนี้
1.1  การทักทาย
1.2  การกล่าวลา
2. ค้นคว้าตัวอย่างการทักทายในสถานการณ์ต่างๆ   
3. ให้ผู้เรียนนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจัดทำเป็นรูปเล่มรายงาน

ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
1. ฝึกอ่าน พูด ให้ครูบุคคลที่รู้ ผู้รู้ฟัง จากแบบฟอร์มให้นักศึกษาบันทึกตามตาราง แบบฝึก การพูด อ่าน เขียน
(แนบท้ายแผนการสอน)



รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



 ขั้นที่ 4 การประเมินผล
          1. ประเมินผลงาน
          2. ความคิดเห็นของผู้รู้
          3. แบบทดสอบ
          4. รูปเล่มรายงาน






แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร21001 ทักษะการเรียนรู้  เรื่อง การเรียนรู้ด้วยตนเอง

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. สามารถวางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองได้










5. การวางแผนการเรียนรู้ และ การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง
6. การฝึกทักษะวางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การวิจารณ์

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
ครูและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
   นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละ 5-7 คน ระดมความคิดวิธีวางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
     สรุปผลการฝึกทักษะวางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
    ครูผู้สอน ประเมินผลการนำเสนอรายกลุ่ม

1. เอกสาร/คู่มือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด





แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 4-6 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร21001 ทักษะการเรียนรู้  เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การใช้แหล่งเรียนรู้
4. อธิบายและปฏิบัติการใช้อินเทอร์เน็ต และการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจ










4. การใช้อินเทอร์เน็ต การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจ

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
     ครูสอบถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความรู้ด้านการใช้อินเทอร์เน็ต

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
   นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิธีการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
     นักศึกษาสรุปผลการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจ และวิธีการนำไปปรับใช้

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
    - นักศึกษานำเสนอผลการเรียนรู้
    - ครูผู้สอน ประเมินผลการนำเสนอรายกลุ่ม

1. เอกสาร/คู่มือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด



แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 10-12 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร21001 ทักษะการเรียนรู้  หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การจัดการความรู้

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การจัดการความรู้

3. จัดทำสารสนเทศและเผยแพร่ความรู้










3. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
     ครูและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นข้อมูลสารสนเทศ

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
   สืบค้นข้อมูลจัดทำสารสนเทศและเผยแพร่ความรู้

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
     นักศึกษาสรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้และวิธีการนำไปปรับใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
   - นักศึกษานำเสนอผลการเรียนรู้
   - ครูผู้สอน ประเมินผลการนำเสนอ

1. เอกสาร/คู่มือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด



แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 10-12 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร21001 ทักษะการเรียนรู้  หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การคิดเป็น

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การคิดเป็น
3. อธิบายถึงการฝึกปฏิบัติการคิดเป็นจากกรณีตัวอย่างถึงกระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็น










4. กระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็นในรายละเอียดพร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ในวิถีการดำเนินชีวิตจริง
5. กรณีตัวอย่างที่หลากหลายเพื่อการฝึกทักษะการปฏิบัติ

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
      ครูและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็นในวิถีการดำเนินชีวิต

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
   สืบค้นข้อมูลกระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็น

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
     นักศึกษาสรุปการนำไปใช้ในวิถีการดำเนินชีวิตจริง

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
   - นักศึกษานำเสนอตัวอย่างถึงกระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่างคนคิดเป็น
-ครูวัดผลการเรียนรู้กระบวนการคิดเป็น จากการนำเสนอของนักศึกษา

1. เอกสาร/คู่มือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด


แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 13-15 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร21001 ทักษะการเรียนรู้  หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การวิจัยอย่างง่าย


รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การวิจัยอย่างง่าย

3. มีทักษะในการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายๆ









3. ฝึกทักษะในการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายๆ

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพปัญหา
     ครูและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานด้านการวิจัยอย่างง่าย

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
   สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย

ขั้นที่ 3  การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
     นักศึกษาสรุปการนำโครงงานวิจัยอย่างง่ายไปใช้ในวิถีการดำเนินชีวิต หรือในชั้นเรียน

ขั้นที่ 4 การประเมินผล
   - ครูประเมินผลการเรียนรู้จากตัวอย่างโครงการวิจัยอย่างง่าย
- ครูประเมินผลการนำโครงการวิจัยมาใช้ในการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน

1. เอกสาร/คู่มือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระการพัฒนาอาชีพ  รายวิชา อช2100  ทักษะพัฒนาอาชีพ   เรื่อง ความจำเป็นในการฝึกทักษะ กระบวนการผลิตกระบวนการตลาดที่ใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
ความจำเป็นในการฝึกทักษะ กระบวนการผลิตกระบวนการตลาดที่ใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ
 1.อธิบายความจำเป็นในการฝึกทักษะ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี       

1. ความจำเป็นในการฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาอาชีพ
2. ความจำเป็นในการพัฒนาการผลิต
3. ความจำเป็นในการพัฒนากระบวนการตลาด

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
          1. ครูพูดคุยเกี่ยวกับสภาพปัญหาในการประกอบอาชีพ ว่ามีปัญหาอะไรบ้าง และสามารถนำทักษะและกระบวนการผลิต คือ ทุน แรงงาน สถานที่ การจัดการเข้ามาบริหารจัดการโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี พร้อมกับกระบวนการตลาดที่จะแนะนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดได้อย่างไร

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้
1. ครูนำสินค้าชนิดเดียวกัน แต่คนละยี่ห้อมาให้ผู้เรียนเปรียบเทียบสินค้าทั้งสองชนิดในชั้นเรียนในเรื่อง
          1.1 ราคา
          1.2 ผลิตภัณฑ์
          1.3 ช่องทางการจัดจำหน่าย
          1.4 การส่งเสริมการขาย




รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



2.ครูให้ผู้เรียน แบ่งเป็น 3 กลุ่มๆละ เท่าๆ กัน โดยกำหนดประเด็นการศึกษาค้นคว้า
          1 ความจำเป็นในการพัฒนาการผลิต
          2 ความจำเป็นในการพัฒนากระบวนการตลาด
          3 ความจำเป็นในการฝึกทักษะเพื่อพัฒนาอาชีพ
          4. สรุปเป็นรายงาน 1 เล่ม

ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
          1. ให้นักศึกษาวิเคราะห์อาชีพที่สนใจ ให้ครอบคลุมเนื้อหาความจำเป็นทั้งสามหัวข้อ พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 การประเมินผล
          1.ให้ผู้เรียนประเมินผลเนื้อหาและการนำเสนอของเพื่อนด้วยการยกมือให้คะแนน
          2. ครูและผู้เรียนสรุปเนื้อหาพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน







แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 4-6 สาระการพัฒนาอาชีพ  รายวิชา อช2100  ทักษะพัฒนาอาชีพ   เรื่อง ความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ  
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
ความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ  
อธิบายความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการ เพื่อการพัฒนาอาชีพ โดยประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา

1. อธิบายความหมายความสำคัญของการจัดการอาชีพ
2. อธิบายความหมายความสำคัญของการจัดการอาชีพ

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้
1.ครูและผู้เรียนพูดคุยเรื่องภูมิปัญญาในท้องถิ่น และยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ของภูมิปัญญาในท้องถิ่นที่ผู้เรียนรู้จัก
2. ครูและผู้เรียนร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับสินค้าของภูมิปัญญาชุมชน ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนในชุมชน

 ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้
     ครูให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าความหมายความสำคัญของการจัดอาชีพและระบบการจัดการเพื่อพัฒนาอาชีพโดยประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา จากอินเตอร์เน็ต หนังสือแบบเรียน และสื่อภายใน กศน.ตำบล

ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
  ผู้เรียนทำ กิจกรรม
ภูมิปัญญาที่ต้องใช้ในการพัฒนาอาชีพ
    ให้ผู้เรียนสรุปความรู้ของภูมิปัญญาที่ได้เชิญมาให้ความรู้ ลงในแบบบันทึก



รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



ขั้นที่ 4 การประเมินผล
      1. ประเมินผลจากแบบบันทึก
      2. ครูสรุปเนื้อหาร่วมกับผู้เรียน




แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระการพัฒนาอาชีพ  รายวิชา อช2100  ช่องทางการพัฒนาอาชีพ   เรื่อง การงานอาชีพ
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การงานอาชีพ
อธิบายความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพ

ความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพ

ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องในการเรียนรู้
     ครูและผู้เรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพในชุมชน ในชุมชนของตนเอง  เช่น  อาชีพเกษตรกรรม  อาชีรับจ้าง   อาชีพค้าขาย  และอื่นๆ  ว่าแต่ละอาชีพนั้นมีความสำคัญอย่างไร  และมีแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเองอย่างไร
ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้
    1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน  เพื่อวัดความรู้ความสามารถก่อนเรียน
    2. ครูให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น  กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน
    3. ครูแจกใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพ
    4.  ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้ที่ 1  จากนั้น
ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิด  โดยตั้งประเด็นให้นักศึกษาบอกถึงอาชีพที่สำคัญในชุมชนพร้อมทั้งแนวทางในการพัฒนาอาชีพ  ลงในกระดาษโฟชาร์ต
     5.  ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอตามหัวข้อหน้าชั้นเรียน  เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเสร็จแล้ว  ได้มีการเปิดโอกาสให้สมาชิกกลุ่มอื่นๆ  แลกเปลี่ยนเรียนรู้  แสดงความคิดเห็นร่วมกัน  โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. หนังสือเรียน
4. สื่อสิ่งพิมพ์
5. อินเทอร์เน็ต
6. แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
1. การสังเกตพฤติกรรม
  2. การอภิปรายหน้าชั้นเรียน
  3. แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
  4. ตรวจใบงาน
  5. สรุปงาน

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



        6. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในเรื่อง  ความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนาอาชีพ  โดยจดบันทึกลงสมุด  และทำใบงานที่  1  เรื่อง  ความสำคัญ และความจำเป็นในการพัฒนา
       7. ครูมอบหมายงาน เพื่อให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และนำเสนอในการพบกลุ่มครั้งต่อไป                   
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
       ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้เรียนในเรื่องของอาชีพไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต
ขั้นที่ 4 การประเมินผล
       1.  ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้จากการนำเสนอผลงานของผู้เรียน
       2.  ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้ไปใช้ในการปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องของตนเอง
       3. ครูประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผลงาน  ใบงาน ตามสภาพความเป็นจริง และธรรมชาติของผู้เรียน













แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

ชั่วโมงที่ 4-6 สาระการพัฒนาอาชีพ  รายวิชา อช2100  ช่องทางการพัฒนาอาชีพ   เรื่อง การตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพ
รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
การตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพ
1. ตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพได้เหมาะสมกับตนเอง

1. การตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพตามศักยภาพ ได้แก่
    1.1 ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่
   1.2 ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ
   1.3 ศักยภาพของภูมิประเทศ และทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่
   1.4 ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่
   1.5 ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่

ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้
          ครูและผู้เรียนร่วมพูดคุยถึงอาชีพที่ผู้เรียนทำอยู่ ความถนัดในด้านอาชีพของผู้เรียน ความรักในอาชีพที่ผู้เรียนทำอยู่ หรือมีผู้เรียนท่านใดสนใจที่จะเปลี่ยนอาชีพ หรือขยายฐานอาชีพของตนเอง
ขั้นที่ 2 แสวงหาความรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออก 4 กลุ่ม กลุ่มละ 5 – 6 คน ศึกษาในความรู้ดังต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 อาชีพในท้องถิ่น
กลุ่มที่ 2 อาชีพที่ผู้เรียนสนใจ
กลุ่มที่ 3 การใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาอาชีพ
กลุ่มที่ 4 อาชีพหลักของภูมิภาคอาเซียน
2. ให้ผู้เรียนทำรายงานดังนี้
          1. ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าว่าในท้องถิ่นของตนเองมีทรัพยากรธรรมชาติใดบ้างที่สำคัญ และเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพของตนเองได้
          2. อาชีพหลักของแต่ละทวีป ทั้ง 5 ทวีป
          3. อาชีพที่ผู้เรียนใฝ่ฝัน


1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. ข่าวหนังสือพิมพ์, วารสาร, นิตยสาร, อินเตอร์เน็ต
4. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน
5. แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
1. สังเกตจากกระบวนการกลุ่ม
2. ตรวจใบงาน
3. การนำเสนอ
4. แบบทดสอบ
หลังเรียน
5. สรุปงาน


รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
          1. ให้ผู้เรียนจัดนิทรรศการจากการค้นคว้าเกี่ยวกับอาชีพหลักของแต่ละทวีป 5 ทวีป
          2. สรุปและเสนอแนะ
ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้
          1. ครูและผู้เรียนสรุปองค์ความรู้
          2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
          3. ทำแบบทดสอบหลังเรียน





แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร02006  โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้  เรื่อง โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้










1.มีความรู้ความเข้าใจหลักและแนวคิดโครงงาน  ความหมายของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ประเภทของโครงงานการเตรียมการทำโครงงาน  ทักษะและกระบวนการในการทำโครงงาน  การดำเนินการในการทำโครงงาน



1.หลักการและแนวคิดของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้
     -หลักการของโครงงาน
     -แนวคิดของโครงงาน
2.ความหมายของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้
     -ความหมายของโครงงาน
     -ประเภทของโครงงาน
3.การเตรียมการทำโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้
     -ขั้นตอนการทำโครงงาน
     -การพิจารณาเลือกโครงงาน
1.ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการ
-ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับหลักการและแนวคิดโครงงาน  ความหมายของโครงงาน  ความหมายของโครงงาน  จัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง  โดยการระดมความคิด
2.ขั้นแสวงหาข้อมูลละจัดการเรียนรู้
-ครูให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่มอบหมายในเรื่องหลักการและแนวคิดโครงงานความหมายของโครงงาน
-ครูให้ผู้เรียนนำเสนอในสิ่งที่ได้รับ
3.ขั้นปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
-ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากกระบวนการและประเมินผลการจัดกระบวนการ
-มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปศึกษา
4.ขั้นประเมินผลการเรียนรู้
-ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเรื่องการแก้ปัญหา
-ครูมอบหมายให้ผู้เรียนจัดกลุ่มๆละ3คนไปแก้ปัญหาเรื่องที่กลุ่มสนใจ
1.ใบความรู้
2.ใบงาน
3.ชิ้นงาน
4.รูปภาพ
5.บุคคล






1.จากการสังเกตพฤติกรรม
2.จากการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
3.ใบงาน/ชิ้นงานที่มอบหมาย








แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 4-6 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ทร02006  โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้  เรื่อง โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

รายวิชา/
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 












1.มีความสามารถในการดำเนินการทำโครงงานและสะท้อนความคิดเป็นเห็นต่อโครงงาน











1.ทักษะและกระบวนการที่จำเป็นในการทำโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้(การหาข้อมูล  การเลือกใช้ข้อมูลการจัดทำข้อมูลการนำเสนอข้อมูล  การพัฒนาต่อยอดความรู้)
     -ขั้นตอนการทำโครงงาน
     -การวางแผนก่อนทำโครงงาน





1.ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการ
-ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะและกระบวนการที่จำเป็นในการทำโครงงาน  เพื่อพัฒนาทักษะการ  โดยการระดมความคิด
2.ขั้นแสวงหาข้อมูลละจัดการเรียนรู้
-ครูให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่มอบหมายในเรื่อง
     -ขั้นตอนการทำโครงงาน
     -การวางแผนก่อนทำการทดลอง
-ครูให้ผู้เรียนนำเสนอในสิ่งที่ได้รับ
3.ขั้นปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้
-ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากกระบวนการและประเมินผลการจัดกระบวนการและประเมินผลการจัดกระบวนการ
-มอบหมายงานให้ผู้เรียนไปศึกษา

1.ใบความรู้
2.ใบงาน
3.ชิ้นงาน
4.รูปภาพ
5.บุคคล










1.จากการสังเกตพฤติกรรม
2.จากการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
3.ใบงาน/ชิ้นงานที่มอบหมาย












รายวิชา/
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



4.ขั้นประเมินผลการเรียนรู้
   -ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเรื่องการแก้ปัญหา
   -ครูมอบหมายให้ผู้เรียนจัดกลุ่มๆละ3คนไปแก้ปัญหาเรื่องที่กลุ่มสนใจ




แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม  เรื่อง หลักการพัฒนาชุมชน  สังคม

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
หลักการพัฒนาชุมชน  สังคม
1. มีความรู้ ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน
2. วิเคราะห์และอธิบายข้อมูล

1. หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
2. วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย และเผยแพร่ข้อมูล

ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาการเรียนรู้
  1. ครูและผู้เรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล สภาพความเป็นอยู่ของตนเองในชุมชน ด้านต่างๆ ปัญหาที่ตนเองพบในชุมชน  เช่น ปัญหาทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ว่ามีปัญหาด้านใดบ้าง เช่น ปัญหาน้ำเน่าเสีย ปัญหาฝุ่นละออง เป็นต้น, การประกอบอาชีพของคนในชุมชนส่วนใหญ่ว่าประกอบอาชีพอะไรบ้าง เหมาะสมกับทรัพยากรที่ชุมชนมีอยู่หรือไม่  เป็นต้น แล้วนำข้อมูลที่ได้มาจัดกลุ่มสภาพปัญหา (ประเด็นสภาพปัญหาที่ครูและผู้เรียนร่วมกันและเปลี่ยนเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละกลุ่ม)
   2. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ร่วมกันสนทนา วิเคราะห์ถึงบริบทสภาวะแวดล้อมของชุมชนที่ต้องการพัฒนา

ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้
1. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้สื่อสิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ต ใบความรู้ที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม พร้อมทั้งสรุปเนื้อหาสาระสำคัญและทำใบงานที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. หนังสือเรียน
4. สื่อสิ่งพิมพ์
5. อินเทอร์เน็ต
1. ใบงาน
2.ส่งงานตรงตามกำหนด

รายวิชา/หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล



  2. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ใบความรู้ที่ 2 เรื่องวิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลายและการเผยแพร่ข้อมูล โดยให้ผู้เรียนกรอกแบบสำรวจข้อมูลตนเอง ตามใบงานที่ 2 เรื่องการสำรวจข้อมูลตนเอง วิเคราะห์และอธิบายข้อมูล และให้ผู้เรียนร่วมกันสรุปข้อมูลของทุกคนที่ได้พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน นำมาสรุปผลการสำรวจข้อมูลในใบงานสรุปผลตามแบบฟอร์มใบงานที่ 2 เรื่องแบบสำรวจข้อมูลตนเอง

ขั้นที่  3 การปฏิบัติและการนำไปใช้
          1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญ นำความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ในการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
  2. ผู้เรียนนำแนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชนในชุมชนของตนเอง สรุป พร้อมนำเสนอในการพบกลุ่ม

ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้
           1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้
          2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้





แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 1-3 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พว02027 การใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน  เรื่อง พลังงานไฟฟ้า

หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
วิธีการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
1. พลังงานไฟฟ้า
1.4 อภิปรายสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของโลกและพลังงานของไทยและอาเซียนได้





1.5 อธิบายและเข้าใจความสำคัญของข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการจัดการและแนวทางการป้องกัน ของโรงไฟฟ้ากับสิ่งแวดล้อมได้
1.4  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าในปัจจุบัน
    1.4.1  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าโลกปัจจุบัน
    1.4.2  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าประเทศไทยปัจจุบัน
    1.4.3   สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าอาเซียนปัจจุบัน
1.5  โรงไฟฟ้ากับสิ่งแวดล้อม
    1.5.1  ข้อกำหนดและกฎหมาย
    1.5.2  การจัดการและแนวทางการป้องกัน    

1. ขั้นการกำหนดสภาพปัญหา
- ครูและนักศึกษาอภิปรายสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของโลกและของไทย

2. ขั้นการแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
- นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าในปัจจุบัน

3. ขั้นการปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
- นักศึกษาสรุปความสำคัญแนวทางการป้องกัน ของโรงไฟฟ้ากับสิ่งแวดล้อม

4. ขั้นการประเมินผล
- ครูประเมินผลการเรียนรู้ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ตามเนื้อหาและตัวชี้วัด

1. เอกสาร/หนังสือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2. การสังเกต









แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 4-6 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พว02027 การใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน  เรื่อง พลังงานทดแทน

หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
วิธีการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
3. พลังงานทดแทน
3.3 สามารถบอกแหล่งพลังงานทดแทนที่มีในชุมชนได้ (K)
3.4 สามารถพัฒนาพลังงานทดแทนที่มีในชุมชนไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.3 พลังงานทดแทนที่มีในชุมชน
3.4 การผลิตและการใช้พลังงานในชุมชน

1. ขั้นการกำหนดสภาพปัญหา
- ครูผู้สอนอธิบายเรื่องแหล่งพลังงานทดแทนในชุมชนที่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน

2. ขั้นการแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ 
- นักศึกษาสืบค้นข้อมูลแหล่งพลังงานทดแทนที่มีในชุมชน และการนำความรู้มาปรับใช้

3. ขั้นการปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
- นักศึกษาสรุปการผลิตและการใช้พลังงานในชุมชน และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

4. ขั้นการประเมินผล
- ครูประเมินผลการเรียนรู้จากนำเสนอแนวทางในการด้วยกระบวนการกลุ่ม
- วิธีการนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

1. เอกสาร/หนังสือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2. การสังเกต





แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายภาค ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โดย กศน.อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
ชั่วโมงที่ 7-9 สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา พว02027 การใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน  เรื่อง พลังงานทดแทน


หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
วิธีการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
4. การใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า
4.8 อธิบายบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้าได้
4.8 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
     4.8.1 กระทรวงพลังงาน
     4.8.2 คณะกรรมการประกอบกิจการพลังงาน
     4.8.3 กฟผ. คืออะไร
1) ความเป็นมา  2) บทบาทหน้าที่  3) การดำเนินงาน
     4.8.4 กฟน. คืออะไร
1) ความเป็นมา  2) บทบาทหน้าที่  3) การดำเนินงาน
     4.8.5 กฟภ. คืออะไร
1) ความเป็นมา 
2) บทบาทหน้าที่ 
3) การดำเนินงาน






1. ขั้นการกำหนดสภาพปัญหา
- ครูและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้า

2. ขั้นการแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้
- ครูอธิบายหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านพลังงาน
- นักศึกษาสืบค้นข้อมูลหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพลังงานไฟฟ้า และบทบาทหน้าที่ต่างๆ
3. ขั้นการปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
- นักศึกษาสรุปความเป็นมา บทบาทหน้าที่ การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน

4. ขั้นการประเมินผล
- ครูประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด
- การนำเสนอผลการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม

1. เอกสาร/หนังสือประกอบการเรียนรู้
2. ใบความรู้
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
1. ใบงาน
2. การสังเกต


1 ความคิดเห็น: